Page 5 - food eb
P. 5

ค ำปรำรภ


                      กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านอาหารของประเทศ มีบทบาทหน้าที่ศึกษา

              วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีต่างๆ ห้องปฏิบัติการด้านอาหารของกรมวิทยาศาสตร์
              การแพทย์มีทั้งส่วนกลาง คือ ส านักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร และส่วนภูมิภาค คือ ศูนย์วิทยาศาสตร์

              การแพทย์ 14 แห่ง กระจายอยู่ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ผลการตรวจวิเคราะห์จากการส ารวจ วิจัย จะถูกน าไปใช้
              แก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศ โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ลดอัตรา

              การเจ็บป่วยจากอาหารและน้ าที่ไม่ปลอดภัย รวมถึงการส่งเสริมเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการไทยให้ก้าวเข้าสู่

              การแข่งขันในเวทีการค้าโลก ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศอีกทางหนึ่งด้วย
                      โครงการบูรณาการอาหารปลอดภัยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นโครงการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพและ

              ความปลอดภัยอาหาร มีการด าเนินงานใน 2 รูปแบบ คือ การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) เป็นการ
              ก าหนดอาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงสูงใน 2 มิติ ได้แก่ มิติหลัก (Agenda base) และมิติพื้นที่ (Area base)

              การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive Surveillance) เป็นการรวบรวมผลวิเคราะห์ ตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์ที่ถูก

              ก าหนดตามแผนเฝ้าระวังประจ าปี ด าเนินงานร่วมกับส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส านักงานสาธารณสุข
              จังหวัดทั่วประเทศ กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน

                      วัตถุประสงค์โครงการ คือ ก าหนดการตรวจเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยง ที่เป็นปัญหา

              ทางด้านสาธารณสุข ข้อมูลที่ได้จะน ามาประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงด้านอาหารในภาพรวมของประเทศ
              ให้ประเทศมีฐานข้อมูลคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ส าหรับตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอาหาร สื่อสารสาธารณะ

              ด้านสุขภาพ (Health Communication) และสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยการสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า

              (Value Added) และสามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ตามนโยบายรัฐบาลที่จะน าประเทศไทยก้าวสู่ Thailand 4.0
              ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมและงานวิจัย การเชื่อมต่อการค้าและการลงทุน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

              และลดความเหลื่อมล้ าการเข้าถึงระบบสุขภาพ ตั้งเป้าหมายให้ “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข
              ระบบสุขภาพยั่งยืน” ภายใต้ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน ของกระทรวงสาธารณสุข เป็นการสนับสนุนนโยบาย

              ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ (Prevention & Promotion Excellence)
                      กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลจากรายงานฉบับนี้จะสามารถน าไปใช้ปรับปรุง

              แก้ไข และพัฒนาความปลอดภัยอาหารตั้งแต่ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า รวมทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี

              ของการท่องเที่ยวที่มีเสน่ห์อยู่ที่ “อาหารไทย”





                                                                        (นายแพทย์โอภาส  การย์กวินพงศ์)

                                                                         อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10